ED03-1 ตําบลยายแย้มวัฒนา  อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ ประจำเดือนสิงหาคม 2565
ข้าพเจ้านางสาวประคอง จันทร์ประโคน ประเภทประชาชน ตําบลยายแย้มวัฒนา อําเภอเฉลิมพระเกียรติ                  จังหวัดบุรีรัมย์ จากโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG(U2T for BCG)  คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ในเดือนสิงหาคมผู้ปฏิบัติงานและคณะอาจารย์ประจำตำบลได้มีการลงพื้นที่พบปะกับท่านกำนันและสมาชิกในชุมชนเรื่องการคิดค้นพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ใหม่มี 2 ผลิตภัณฑ์ คือ 1. ผ้าฝ้ายยายแย้มทอด้วยมือแบบโบราณย้อมด้วยสีจากธรรมชาติซึ่งทำให้ผ้านุ่มเป็นพิเศษ สีไม่ตก มีสีสันลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า OTOPทำให้ผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย เช่น กระเป๋า หมวก ผ้ากันเปื้อน เสื้อผ้า แมส เป็นต้น 2.ข้าวภูเขาไฟไปรบัดซึ่ง มีกลิ่นหอม รสชาติอร่อย มีความนุ่ม เรียงเม็ดสวย และมีแร่ธาตุเกิดจากดินผู้เขาไฟ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐานสินค้า OTOPเพื่อต่อยอดมูลค่าข้าว ให้มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น เช่น ข้าวแต๋นและข้าวตังเป็นต้น จากนั้นได้ประชุมวางแผน ทำแบบฟอร์ม C-03แผนการบริการ ส่วนที่ 1 ชื่อสิ้นค้า ผ้าฝ้ายยายแย้ม ส่วนที่ 2  พื้นที่ ตำบลยายแย้มวัฒนา จังหวัด บุรีรัมย์ และมหาวิทยาลัยที่รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ส่วนที่ 3 สินค้า และบริการ BCG เป้าหมายในพื้นที่

1.ใช้ทรัพย์กรให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด

  1. 2. ใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพผลิตสินค้าและบริการให้มีนวัตกรรมและมีมูลค่าสูง

3 .นำวัตถุดิบจากธรรมชาติมาใช้เพื่อลดการใช้สารเคมีที่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม

ส่วนที่ 4 รายได้ต่อปีในปัจจุบัน 200000 บาท/ปี ส่วนที่ 5 กลุ่มลูกค้าเป้าหมายคือวัยรุ่น วัยทำงาน และผู้สูงอายุ ส่วนที่ 6 ช่องทางการจัดจำหน่ายในปัจจุบัน ส่วนที่ 6 วัตถุประสงค์การพัฒนาสินค้า และบริก

– ออกแบบสินค้า/บริการใหม่

– ออกและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม่

– พัฒนาสินค้า/บริการให้มีมูลค้าสูง

ส่วนที่ 8 เป้าหมายการพัฒนาสินค้า และบริการ

-ได้สินค้า/และบริการใหม่

-ได้สินค้า/บริการที่มีบรรจุภัณฑ์ใหม่

-ได้นำสินค้า/บริการจำหน่ายออนไลน์ได้

-ได้สินค้า/บริการที่ได้รับการรับรองมาตฐาน

ส่วนที่ 9 เทคโนโลยีหรือวัตกรรมที่ใช้ 3 ข้อ

1.พัฒนา Packaging Design, คุณภาพและมาตฐานในบรรจุผลิตภัณฑ์

2.อบรมอีคอมเมิร์ซ Page Facebook และ Line Platform

3.กลุ่มลูกค้าทั้งในพื้นที่ และใกล้เคียง ตลอดจนบทแพลท ฟอร์มออนไลน์

ส่วนที่ 10 หลักการและขั้นตอนการพัฒนาของสินค้าและบริการ

1.ประสานงานกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน คนในชุมชน

2.จัดการอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับคุณภาพของเส้นด้าย

3.พัฒนา Packaging ผลิตภัณฑ์

4.ปรับกลยุทธ์ทางการตลาดเน้นไปที่ตลาด ออนไลน์ มากขึ้น

5.นำสินค้าออกสู่ตลาด

ส่วนที่ 11ใช้ระยะเวลาในการพัฒนาสินค้าและบริการให้แล้วเสร็จภายในกี่เดือน

-น้อยกว่า 1 เดือน   2-3 เดือน  -มากกว่า- 3 เดือน

ส่วน 12 ใช้งบประมาณในการดำเนินการพัฒนาสินค้าและบริการกี่บาท

-น้อยกว่า 50,000 บาท   50,000-100,000   100,000-150,000  มากกว่า 150,800

ส่วนที่ 13 ความพร้อมของผลิตภัณฑ์และบริการในด้านต่างๆ

ประเด็นความพร้อมในด้านต่างๆ                       ความพร้อม/ไม่พร้อม

1.ด้านวัตถุดิบ                                                           พร้อม

2.ด้านกระบวนการการผลิตและบริการ                            พร้อม

3.ด้านมาตฐานผลิตภัณฑ์และบริการ                             ไม่พร้อม

4.ด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์และบริการ                               พร้อม

5.ด้านการจัดการ                                                      พร้อม

6.ด้านการขนส่งและกระจ่ายสินค้า                                 พร้อม

7.ด้านบรรจุภัณฑ์                                                       ไม่พร้อม

8.ด้านการจัดการสินค้าคงคลัง                                      พร้อม

9.ด้านการจัดการการตลาด                                         พร้อม

10.ด้านการขาย(ที่ไม่ใช่ระบบ Online)                           พร้อม

11.ด้านการขาย(ระบบ Online)                                     พร้อม

 

  1. อธิบายแผนการพัฒนาสินค้าและบริการ
  2. .ลงพื้นที่สำรวจความต้องการของผู้บริโภค วิเคราะห์การตลาด ต้นทุน แหล่งที่มา สถานที่การผลิต

2.จัดรูปแบบองค์กร จัดหาบุคลากร จัดหาสถานที่ วัสดุอุปกรณ์การผลิต

3.พัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด วางกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน

4.พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุด

5.ทดลองใช้วัตกรรมใหม่ๆเพื่อคิดค้นลวดลาย สี ความแข็งแรง และความยืดยุ่นของผลิตภัณฑ์

6.ออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ โล้โก้ผลิตภัณฑ์

7.ขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้บริโภคเข้าถึงสินค้าได้ง่ายขึ้นผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ เช่น facebook,line,Shopee,Lazada รวมทั้งระบบขนส่งสาธารณะ

 

จากนั้นคณะอาจารย์และผู้ปฏิบัติงานสมาชิกในชุมชนได้คิดสร้างไอเดียทำPackagingกล่องของขวัญวันแม่เป็นผ้าพันคอที่พับเป็นแบบพวงมาลัยผลิตภัณฑ์ที่ทำจากผ้าฝ้ายยายแย้มได้จำหน่ายในวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม

และได้อบรม BCG-learning เข้าสู่บทเรียน”พัฒนา” คือ สร้างคุณค่าสินค้าและบริการ(Value Chain) การพัฒนาสินค้าและบริการ