รายงานผลปฏิบัติงานของผู้ถูกจ้างงานโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ
สังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจBCG(U2T for BCG)
ข้าพเจ้า นางสาว วรัญญา พิมพ์เชื้อ ผู้ปฏิบัติงานประเภทประชาชน พื้นที่ ที่รับผิดชอบคือ บ้านแสลงพันหมู่7และบ้านแสลงพันพัฒนาหมู่14
หลักสูตรHS11-1 ภายใต้ชื่อผลิตภัณฑ์1000Made 36 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตำบลแสลงพัน อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
ข้าพเจ้าได้รับผิดชอบบ้านแสลงพันหมู่7และบ้านแสลงพันพัฒนาหมู่14ซึ่งทางอาจารย์ประจำหลักสูตรคืออาจารย์อรรถพล ธรรมรังษีและอาจารย์อิทธิพล มะเสน ได้มีการประชุมออนไลน์เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ให้กับผู้ปฏิบัติงานดังนี้สรุปวาระการประชุมวันที่ 11 กรกฎาคม 2565
1) แบ่งโซนรับผิดชอบหมู่บ้าน 8คน
เจษฎา หมู่ 6,11,17
อารียา หมู่ 2,8
เกศริน หมู่ 9,10
วนิดา หมู่ 3,15
ศุภาณัน หมู่ 5,1
ธิดา หมู่ 12,16
วรัญญา หมู่ 7,14
อนุชา หมู่ 4,13
2) สำรวจวัสดุพืชธรรมชาติสมุนไพรที่ทำให้เกิดกลิ่นหอมสามารถนำมาดัดแปลงได้
3)รูปลักษณ์ บรรจุภัณฑ์เอกลักษณ์ของแสลงพัน การทำเทียนขี้ผึ้ง,ปราสาทผึ้ง
4)การออกแบบผลิตภัณฑ์(อนุชา)
5)ตำนานศาลปู่ตา ที่มาของแสลงพันเป็นมาอย่างไร
#ส่งรูปภาพเนื้อหารายงานลงกลุ่ม ภายใน 13กรกฎาคม 2565
#รายงานประจำเดือน รอรายละเอียดหัวข้อชี้แจงอีกรอบ
ชึ่งข้าพเจ้าได้ลงพื้นที่สำรวจในหมู่บ้านมีสมุนไพรที่สมารถนำมาทำ
กลิ่นเทียนอโลมาพบพืชสมุนไพรที่สามารถนำมาสกัดเพื่อให้ได้กลิ่นหอมมีดังนี้
1.ตะไคร้หอม
2.ดอกสะเลเต
3.ใบเตย
4.ขมิ้น
5.ขิง
6.มะกรูด
7.กระชาย
8.ข่า
9.มะนาว
10.สาระเหน่
ซึ่งสมุนไพรนี้มีอยู่แล้วในชุมชนเราสามารถนำมาสกัดกลิ่นหอมได้
ทางทีมผู้ปฏิบัติงานและอาจารย์ประจำหลักสูตรได้ช่วยกันคิดตั้งชื่อผลิตภัณฑ์ซึ่งชื่อที่ได้คือ1000Made 36 และตั้งชื่อลายผ้าไหมเพื่อให้มีเอกลักษณ์ประจำตำบลแสลงพันซึ่งก็
ได้ชื่อว่าผ้าไหมลายเถาแสลงพัน
และได้ลงพื้นที่เพื่อไปดูและศึกษาต้นแสลงพันซึ่งเหลือเพียง
ต้นเดียวในชุมชนอีกด้วย
ภาพประกอบการลงพื้นที่
ข้อเสนอแนะ
–เทียนขี้ผึ้งเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านสามารถนำมาจำหน่ายเพื่อให้มีรายได้เสริมให้
กับชุมชนได้เทียนขี้ผึ้งมีความหอมและมีคุณค่าในตัวสามารถพัฒนาเป็นเทียนขี้ผึ้งหอมเพื่อสุขภาพและเป็นของประดับตกแต่งบ้านได้
–ผ้าไหมลายเถาแสลงพันคือลายที่คิดค้นจากเถาแสลงพัน(หรือต้นแสลงพัน)ชึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจำตำบลแสลงพันมีความสวยงามมีลวยลายประจำท้องถิ่นที่โดดเด่นมาก
ลิ้งวีดีโอประจำตำบล