บทความสรุปผลการปฎิบัติงาน
เรื่อง แนวคิดและหลักเศรษบกิจ BCG
ประจำเดือน กรกฎาคม
โดย นายพงค์สุวัชร รัตนกุลธำรงชาติ
ประเภท ประชาชน ตำบลลำปลายมาศ อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
********************************************************************
ข้าพเจ้า นายพงค์สุวัชร รัตนกุลธำรงชาติ ประเภทประชาชนข้าพเจ้าได้เข้าประชุมรับฟังการบรรยายปฏิบัติงานโดยท่านอาจารย์ ดร.วิษณุ ปัญญายงค์ เป็นผู้ชี้แจงในเรื่องการทำผลิตภัณฑ์ทางทีมงานลำปลายมาศได้มีการวางเเผนในเรื่องของการทำผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรในท้องถิ่นให้มีอยู่เพิ่มมูลค่าให้มากขึ้นโดยจัดทำทั้งน้ำมันนวด เเชมพู สบู่ สมุนไพร เเละการลงวลา ผู้ปฏิบัติงานจะต้องลงเวลาทุกวันจันทร์ – ศุกร์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ไม่ต้องลงเวลา แต่ผู้รับจ้างงานสามารถลงพื้นที่ปฎิบัติงานได้ตามปกติตามที่อาจารย์ได้รับมอบหมายในส่วนที่2ได้มีการเข้าอบรมออนไลน์ควรเข้าอบรมให้ครบหลักสูตร BCG – LEARNING เข้าสู่บทเรียน “คัดสรร” คือ เข้าใจและเรียนรู้ BCG ผ่าน การคิดและกระบวนการ Hackathon เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปัญหา ใช้เหตุผล แก้ปัญหา เชื่อมโยงให้บรรลุจุดมุ่งหมายผลิตภัณฑ์ที่ทางตำบลลำปลายมาศส่งเข้าประกวด HACKATHON มี 5 ผลิตภัณฑ์ทางตำบลลำปลายมาศจะนำส่วนผสมของพืชสมุนไพรที่อยู่ในท้องถิ่นและข้าพเจ้าได้มอบหมายงานให้ข้าพเจ้าได้ลงพื้นที่หาข้อมูลพืชสมุนไพร ในวันที่วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 ที่ชุมชนบ้านผักกาดหญ้า หมู่ที่ 4 แล้วรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้พร้อมรูปภาพประกอบ ส่งต่อให้กับทีมงานที่ประสานงานต่อไปและในวันที่ในวันอังคารที่ 12 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.30 น. – 15.00 น.การอบรมวิธีการจัดเก็บ และกำกับตรวจสอบข้อมูล TCD สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ปฏิบัติงาน หรือผู้สนใจ
ข้าพเจ้าได้เข้าประชุมออนไลน์ในเรื่องผลิตภัณฑ์สินค้า โดยท่านอาจารย์ ดร.วิษณุ ปัญญายงค์ เป็นผู้บรรยายมีดังนี้ อาจารย์ได้ลดผลิตภัณฑ์จากเดิม 5 ผลิตภัณฑ์ลดลงเหลือ 3 พร้อมและอธิบายสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ของสมุนไพรและได้มอบหมายให้ผู้ปฏิบัติงานไปลงพื้นที่เก็บข้อมูลตามพื้นที่ ที่ได้รับมอบหมายและได้ลงพื้นที่สำรวจพืชสมุนไพรที่ชุมชนบ้านสวนแตง หมู่ 2 และลงไปเก็บข้อมูล ผักกาดหญ้าหมู่ที่ 4 ตำบลลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์