ข้าพเจ้านางสาวฟาริดา ราชภักดี ปฏิบัติงานประเภทบุคคลในตำบล ตำบลโนนดินแดง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ คณะวิทยาการจัดการ MS10-2

ตามโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG)

 

         

วันที่ 20 สิงหาคม 2565 ได้มีการนัดประชุม

  • การออกแบบโลโก้ บรรจุภัณฑ์ ราคาต้นทุน
  • การจดทะเบียนวิสาหกิจ
  • ต้นทุนคำนวณไว้แล้ว
  • การตลาดเรื่อมจากตลาดชุมชน

วันที่ 21 สิงหาคม 2565 อ.ฤทัยภัทรเปิดประชุม

  • บรรจุภัณฑ์ให้ใช้คำว่าไข่สาวหลง โดยให้การบ้านไปคิดว่าจะใช้ชื่อกลุ่มอะไร
  • โลโก้อะไร

วันที่ 23 สิงหาคม 2565 อ.นลินทิพย์ อ.จตุพร อ.ฤทัยภัทร ประชุมเรื่อง

  • การทำ TCD
  • การทำบัญชี
  • การตลาด

การทำงานใน 3 เดือน ช่วยพัฒนายอดขายโดยหากลุ่มชาวบ้านที่ทำอยู่แล้ว ผลิตภัณฑ์มี 2 ชนิด

  1. ไข่สาวหลง (ฝึกการคำนวณต้นทุนและจะไม่ซื้อของตุนไว้เยอะ)
  2. กัมมี่จะอบรมวันที่ 29 ส.ค. 65 และจะต้องคำนวนต้นทุนด้วย และรับผิดชอบการขายคนละเท่า ๆ กัน
  3. การเตรียมงานความรับผิดชอบในวันที่ 29 ส.ค. 65
  • การลงทะเบียนและการจัดเบรก = ฟาริดาและคุณแม่
  • จัดสถานที่ เขียนสูตร จัดโต๊ะ = ธชกาญจน์, ณัฐวุฒิ
  • อุปกรณ์ในครัว ถังน้ำแข็ง = กิ่งกาญจนา, นงลักษณ์
  • พิมพ์กัมมี่ = ออมสิน จัดซื้อรวม 5 กลุ่ม
  • วัตถุดิบ ผลไม้และต้มน้ำสมุนไพร (มะนาว, เสาวรส, กระเจี๊ยบ, สาวหลง) = ศรัญญา, คัทรียา
  • อาหารกลางวัน = ปิยนุช
  • ถ่ายภาพ+วิดิโอ = ณัฐสินี

และจะมีการขายสินค้ามี่มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ในวันที่ 14-18 ก.ย. 65

  • อ.จตุพรนัดณัฐวุฒิและณัฐสินี คุยเรื่องแพ้คเกจ โลโก้วันที่ 25 ส.ค. 65
  • นัดทำไข่พอกสาวหลงเวลา 00 น. ที่บ้านศรัญญา

วันที่ 27-29 สิงหาคม 2565

ลงพื้นที่หมู่8 ในการลงมือทำไข่พอกสาวหลงและอบรมการทำกัมมี่โดยมีวิทยากรมาอบรม มีทีมงาน + ประชาชนตามแผนงานที่กำหนดไว้แล้ว

  • มีการลงมติว่าจะใช้ชื่ออะไรในการจดทะเบียน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน   “ บ้านสมุนไพรโนนดินแดง

มีการวางแผนว่า

  • วันที่ 10 ก.ย. 65 ภาคประชาชนเตรียมวัตถุดิบเพื่อทำไข่พอกสาวหลง 5 แผง ไม่รวมบัณฑิต
  • วันที่ 11 ก.ย. 65 พร้อมกับทุกคนมาพอกไข่และทำกัมมี่ที่ หมู่ 8 เพื่อขายที่มหาวิทยาลัยในวันที่ 14-18 ก.ย. 65

 

วันที่ 5-9 กันยายน 2565

ปฏิบัติในพื้นที่ ECT WEEK เข้าพบกรรมการ ศส.ปชต.

  1. ได้พบครูกศน. เพื่อวางแวนลงพื้นที่ปฏิบัติงานที่ หมู่ 4 และได้ผ่านการศึกษาหลักสูตร แบบทดสอบ หลักสูตรพลเมืองคุณภาพ ทางออนไลน์ ผ่านทางแอปพลิเคชัน Civic Education.
  2. รายชื่อคณะกรรมาการ ศส.ปชต. ที่ร่วมให้ข้อมูล
  • นายชัยยศ พุ่มพวง
  • นางภาน พิมพ์วงศ์
  • นายวิทยา สว่างเนตร
  • นายหนูเล็ก ดาวไธ
  • น.ส.นันท์นภัส ตะราษี
  • น.ส.กนิษฐา พิสพล
  1. ประเด็นที่ลงพิ้นที่เก็บข้อมูล
    • บทบาทและหน้าที่การดำเนินงานของศส.ปชต.ร่วมกับการขับเคลื่อน และการสร้างเครือข่ายทำงานในพื้นที่ชุมชน
  • ให้ความรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย
  • มีส่วนร่วมในกระบวนการเลือกตั้ง
  • ส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย
    • การดำเนินชีวิตประจำวันของชาวบ้านมีความสอดคล้องกับวิถีประชาธิปไตยหรือไม่ อย่างไร
  • มีการลงมติต่าง ๆ ในหมู่บ้าน
  • วางนโยบายร่วมกับมีการพัฒนาโดยเรียงลำดับก่อนหลัง
    • การเข้ามามีส่วนร่มทางการเมืองโดยการออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งทุกระดับและลักษณะของผู้แทนทางการเมืองที่ประชาชนต้องการมีลักษณะอย่างไร
  • อยากได้ผู้แทนที่สุจริต โปร่งใส เข้าถึงประชาชน
  • ขยัน จริงใจ มีคุณธรรม
    • การดพเนินชีวิตประจำวันของชาวบ้านมีความสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่ อย่างไร
  • ปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง เหลือขาย
  • แปลรูปอาหาร เช่น กล้วยฉาบ กล้วยตาก
  1. ปัญหาและอุปสรรคในการลงพื้นที่
  • ปัญหาดินฟ้าอากาศ
  1. ข้อเสนอแนะ
  • ไม่มี